นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการ
ทั้งนี้ เมื่อการท่องเที่ยวกลับมาก็จะเป็นส่วนที่ไปสนับสนุนการบริโภคภายในประเทศด้วย โดยคาดว่าจะขยายตัวได้ 4.8% เนื่องจาก นักท่องเที่ยวมีการจับจ่ายใช้สอย ก็จะส่งต่อมาถึงรายได้ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว จึงทำให้การบริโภคภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น และคาดว่ารายได้เกษตรกรจะขยายตัวได้ดีตามราคาสินค้าเกษตรที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การใช้จ่ายขยายตัวต่อเนื่อง และอีกเครื่องยนต์สำคัญ คือ
โดยยังมีปัจจัยที่จะต้องติดตามอย่างใกล้ชิด ซึ่งอาจเป็นความเสี่ยงต่อ
1) ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ส่งผลกระทบต่อราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งส่งผ่านไปยังต้นทุนของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ
2) ความผันผวนของตลาดการเงินโลกจากการดำเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดขึ้นของธนาคารกลางหลายประเทศ โดยเฉพาะธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ที่มีแนวโน้มเร่งปรับขึ้นอัตรา
3) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด ทั้งสายพันธุ์ที่ระบาดในปัจจุบันและที่อาจเกิดขึ้นใหม่ในอนาคต และ
4) เศรษฐกิจคู่ค้าชะลอลง โดยเฉพาะเศรษฐกิจประเทศหลักและประเทศจีน ประกอบกับหากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ในประเทศจีนยืดเยื้อกว่าที่คาดไว้ก็จะส่งผลกระทบห่วงโซ่อุปทานการผลิต (Supply Disruption) และส่งผลเชื่อมโยงไปยังภาคการผลิตและการค้าทั่วโลก
ขณะที่เสถียรภาพภายในประเทศนั้น คาดว่าอัตรา
#เศรษฐกิจไทย